ที่มา http://pantip.com/topic/33818934
เราเพิ่งเรียนจบ เปนคนตจว. ทำงานได้9เดือนเงินเดือน15,000 พอดีเป๊ะ!!
คือทุกครั้งที่เงินเดือนออก จะไปกดออกมาทั้งหมด เพื่อนำมาแบ่งใส่ซองเป็นส่วนๆ
ซองที่1. ค่าหอ 4,000 หอเราเป็นห้องแอร์ รวมค่าน้ำค่าไฟก็พยายามใช้ให้ไม่เกิน 4000
ซองที่2. ให้พ่อ-แม่ 3,000 เรายังเงินเดือนน้อยอยู่ให้คนละ1,500 เขาก็ดีใจละ
ซองที่3. เงินเก็บ 2,000 เราแบ่งไปเล่นแชร์เดือนละ1,000 ไม่ได้รีบใช้เงินก็รอเงินก้อนตอนมือบ้วยโน่น
*ถึงจะน้อยแต่ก็ยังกว่าไม่มีเก็บ หลายๆเดือนมันก็เยอะเองแหละ
ซองที่4. ค่ากิน 3,500เฉลี่ยกินวันละ120 บ. โดยเราจะหยิบออกมาใส่กระเป๋าตังไว้แค่120 บ. ไม่งั้นใช้เกินแน่ๆ กินข้าว มื้อละ35 บ. ค่ารถวันละ20บ.
* จิงๆเราลดความอ้วน กินข้าวแค่เช้ากับกลางวัน มื้อเย็นหาไรเบาๆถูกๆกิน ยิ่งทำกินเองยิ่งประหยัด
* กินมาม่า ทอดไข่กินบ้างประหยัดได้หลายบาท
*ไม่กินน้ำชา กาแฟ นอกจากประหยัดได้วันละ30-40บ. แถมยังไม่อ้วนด้วย
ซองที่5. ซื้อของที่อยากได้ 1,000 อย่าให้ความอยากได้มันมากกว่าเงินเดือน ถ้าอยากได้ของที่มากกว่า1,000 ก็อดทนเก็บหลายๆเดือนเอานะ
ซองที่6. อื่นๆ 1,000 เป็นค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ค่าเหล้าค่าเบียร์ เงินเดือนแค่นี้ก็ต้องเจียมตัวนะ กินเบียร์บ่อยก็ไม่มีตังกินข้าวอะ
**** เราจะนำเงินที่เหลือจากซองทั้งหมดเล็กๆน้อยๆ ไปกินของที่อยากกินสักมื้อหรือไปเที่ยวไหนซักที่ เปนผลตอบแทนที่ประหยัดมาทั้งเดือน ****
**ปัจจุบันเรามีเงินเก็บ 12,000 บ. ยังไม่รวมเงินจากแชร์และเงินเดือนสิ้นเดือนนี้ ยะฮู้ววววว
ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ที่วินัยในตัวคุณเอง อย่าพูดว่าทำไม่ได้หรอก คนอื่นเขาทำได้คุณเองก็ทำได้ ลองไปปรับวิธีใช้เงินกับไลฟ์สไตล์ของคุณให้ลงตัว
สู้ต่อไป ยอดมนุษย์เงินเดือน ผ่างงงง!!!!!
เราเพิ่งเรียนจบ เปนคนตจว. ทำงานได้9เดือนเงินเดือน15,000 พอดีเป๊ะ!!
คือทุกครั้งที่เงินเดือนออก จะไปกดออกมาทั้งหมด เพื่อนำมาแบ่งใส่ซองเป็นส่วนๆ
ซองที่1. ค่าหอ 4,000 หอเราเป็นห้องแอร์ รวมค่าน้ำค่าไฟก็พยายามใช้ให้ไม่เกิน 4000
ซองที่2. ให้พ่อ-แม่ 3,000 เรายังเงินเดือนน้อยอยู่ให้คนละ1,500 เขาก็ดีใจละ
ซองที่3. เงินเก็บ 2,000 เราแบ่งไปเล่นแชร์เดือนละ1,000 ไม่ได้รีบใช้เงินก็รอเงินก้อนตอนมือบ้วยโน่น
*ถึงจะน้อยแต่ก็ยังกว่าไม่มีเก็บ หลายๆเดือนมันก็เยอะเองแหละ
ซองที่4. ค่ากิน 3,500เฉลี่ยกินวันละ120 บ. โดยเราจะหยิบออกมาใส่กระเป๋าตังไว้แค่120 บ. ไม่งั้นใช้เกินแน่ๆ กินข้าว มื้อละ35 บ. ค่ารถวันละ20บ.
* จิงๆเราลดความอ้วน กินข้าวแค่เช้ากับกลางวัน มื้อเย็นหาไรเบาๆถูกๆกิน ยิ่งทำกินเองยิ่งประหยัด
* กินมาม่า ทอดไข่กินบ้างประหยัดได้หลายบาท
*ไม่กินน้ำชา กาแฟ นอกจากประหยัดได้วันละ30-40บ. แถมยังไม่อ้วนด้วย
ซองที่5. ซื้อของที่อยากได้ 1,000 อย่าให้ความอยากได้มันมากกว่าเงินเดือน ถ้าอยากได้ของที่มากกว่า1,000 ก็อดทนเก็บหลายๆเดือนเอานะ
ซองที่6. อื่นๆ 1,000 เป็นค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ค่าเหล้าค่าเบียร์ เงินเดือนแค่นี้ก็ต้องเจียมตัวนะ กินเบียร์บ่อยก็ไม่มีตังกินข้าวอะ
**** เราจะนำเงินที่เหลือจากซองทั้งหมดเล็กๆน้อยๆ ไปกินของที่อยากกินสักมื้อหรือไปเที่ยวไหนซักที่ เปนผลตอบแทนที่ประหยัดมาทั้งเดือน ****
**ปัจจุบันเรามีเงินเก็บ 12,000 บ. ยังไม่รวมเงินจากแชร์และเงินเดือนสิ้นเดือนนี้ ยะฮู้ววววว
ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ที่วินัยในตัวคุณเอง อย่าพูดว่าทำไม่ได้หรอก คนอื่นเขาทำได้คุณเองก็ทำได้ ลองไปปรับวิธีใช้เงินกับไลฟ์สไตล์ของคุณให้ลงตัว
สู้ต่อไป ยอดมนุษย์เงินเดือน ผ่างงงง!!!!!
ใครอยากรวย อยากมีเงินเก็บ เชิญทางนี้ เรามีทิปส์เด็ดๆ
ในการเก็บเงินให้อยู่หมัดมาฝาก
แม้บางวิธีจะดูฝืนใจไปหน่อย แต่รับรองว่าได้ผล
ในการเก็บเงินให้อยู่หมัดมาฝาก
แม้บางวิธีจะดูฝืนใจไปหน่อย แต่รับรองว่าได้ผล
1. เก็บแบงก์ 50 ไว้
เมื่อไหร่ที่ได้เงินทอนเป็นแบงก์ 50 ให้แยกเก็บ อย่าเอามาใช้ เมื่อกลับมาดูในอีกหลายเดือนให้หลัง รับรองว่ามีเป็นร้อยเป็นพันแน่ๆ
เมื่อไหร่ที่ได้เงินทอนเป็นแบงก์ 50 ให้แยกเก็บ อย่าเอามาใช้ เมื่อกลับมาดูในอีกหลายเดือนให้หลัง รับรองว่ามีเป็นร้อยเป็นพันแน่ๆ
2. เก็บเงินให้เท่ากับค่าข้าวกลางวัน
มื้อกลางวันกินไปกี่ยาทถึงบ้านก็ให้เอาเงินจำนวนเท่านั้นใส่กระปุกไว้ นอกจากจะได้เงินเก็บแล้ว เผลอๆ ยังกินข้าวน้อยลงอีกต่างหาก
มื้อกลางวันกินไปกี่ยาทถึงบ้านก็ให้เอาเงินจำนวนเท่านั้นใส่กระปุกไว้ นอกจากจะได้เงินเก็บแล้ว เผลอๆ ยังกินข้าวน้อยลงอีกต่างหาก
3. เก็บแบงก์ใหม่
ได้แบงก์ใหม่เอี่ยมอ่องมาทั้งที แยกเก็บเอาไว้ เดือนนึงๆ ก็หลายบาทอยู่นะ อ้อ… แต่ถ้าเป็นแบงก์ห้าร้อย แบงก์พัน าจจะลำบากสักหน่อย ลองใช้กับแบงก์ย่อยก่อนก็ได้จ้า
ได้แบงก์ใหม่เอี่ยมอ่องมาทั้งที แยกเก็บเอาไว้ เดือนนึงๆ ก็หลายบาทอยู่นะ อ้อ… แต่ถ้าเป็นแบงก์ห้าร้อย แบงก์พัน าจจะลำบากสักหน่อย ลองใช้กับแบงก์ย่อยก่อนก็ได้จ้า
4. แบ่งเงินที่จะใช้เป็นส่วนๆ ใส่ถุง
คำนวณว่าแต่ละวันเราใช้จ่ายเท่าไหร่ มีค่าอะไรบ้าง แล้วแยกใส่ถุงไว้เป็นประเภทๆ ช่วยให้จัดสรรการเงินได้ดียิ่งขึ้น
คำนวณว่าแต่ละวันเราใช้จ่ายเท่าไหร่ มีค่าอะไรบ้าง แล้วแยกใส่ถุงไว้เป็นประเภทๆ ช่วยให้จัดสรรการเงินได้ดียิ่งขึ้น
5. เก็บเงินสำหรับเป้าหมายพิเศษเอาไว้ต่างหาก
อยากไปเที่ยวไหน อยากได้กระเป๋าใหม่ หรืออะไรก็ตามแต่ที่ไม่ได้เป็นค่าใช้จ่ายประจำ ลองหยอดเงินใส่ขวดใส่ประปุกไว้ แปะป้ายให้ชัดเจน แค่นี้ก็ไม่ต้องเบียดเบียนเงินส่วนอื่นแล้ว
อยากไปเที่ยวไหน อยากได้กระเป๋าใหม่ หรืออะไรก็ตามแต่ที่ไม่ได้เป็นค่าใช้จ่ายประจำ ลองหยอดเงินใส่ขวดใส่ประปุกไว้ แปะป้ายให้ชัดเจน แค่นี้ก็ไม่ต้องเบียดเบียนเงินส่วนอื่นแล้ว
6. เก็บเหรียญ
กลับบ้านมาแต่ละวัน ลองเทกระเป๋าตังค์เอาเหรียญทั้งหมดที่มีใส่กระปุก หมดเดือนก็ลองเอาออกมานับ จำนวนเงินที่ได้จะมากจนคุณแปลกใจเลยล่ะ
กลับบ้านมาแต่ละวัน ลองเทกระเป๋าตังค์เอาเหรียญทั้งหมดที่มีใส่กระปุก หมดเดือนก็ลองเอาออกมานับ จำนวนเงินที่ได้จะมากจนคุณแปลกใจเลยล่ะ
7. หักเศษเงินเดือน
สมมติได้เงินเดือน 18,650 บาท กดมาใช้แค่ 18,000 ถ้วนๆ เศษที่เหลือก็ปล่อยให้ทบไว้ในบัญชีอย่างนั้น สิ้นปีเรามาดูยอดกันว่าเก็บได้เท่าไหร่
สมมติได้เงินเดือน 18,650 บาท กดมาใช้แค่ 18,000 ถ้วนๆ เศษที่เหลือก็ปล่อยให้ทบไว้ในบัญชีอย่างนั้น สิ้นปีเรามาดูยอดกันว่าเก็บได้เท่าไหร่
ขอบคุณภาพและข้อมูลจาก : cosmenet